การดาเนินงานโรคไม่ตดิ ต่อ ภานุ วฒ ั น์ ปานเกตุ สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค Non-communicable disease WHO: cardiovascular disease, diabetes, chronic respiratory disease, and certain cancers. All of these have in common that they are caused predominantly by smoking, poor diet, physical inactivity, and the harmful use of alcohol. ไม่รวม mental health and many other chronic conditions Source: World Health Organization, 2005 What best to call these conditions? • Non-communicable disease NCD Chronic disease Diseases of civilisation • Lifestyle diseases • • • โรควิถีชีวิต 4 โรค * 4 ปัจจัยเสี่ ยงที่ปรับเปลี่ยด้ บริโภคยาสู บ โรคหัวใจและ หลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง โรคทางเดิน หายใจเรื้อรัง ทานอาหาร ไม่ สมดุล ขาดการออก กาลังกาย บริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ -โลกาภิวฒั ด์ - เศรษฐกิจทุดดิยม - กติกาโลก - การคา - การสื่ อสาร/คมดาคม - สิ่ งแว ลอม/ทรัพยากร - เทคโดโลยี - ภัยธรรมชาติ และภัยจากมดุษย์สราง การเมือง เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สั งคม วัฒนธรรม กฏหมาย ประ เทศ ภูมภิ าค จังหวัด/อาเภอ อปท/ชุ มชน (เพือ่ น/โรงเรียน/ สถานที่ทางาน/สถานบริการ) ผลลัพธ์ ต่ อสุ ขภาพ ของคน ในชาติ ครอบครัว ปัจเจกบุคคล (การศึกษา/อาชีพ/เศรษฐานะ/ความสามารถจัดการ) วิถีชีวติ ของบุคคล การตัดสินใจเลือกปฏิบัติ สิ่ งแวดล้ อม พฤติกรรม ชีวภาพ เส้นทางการเกิดโรค โลกาภิวฒั ด์ ความเป็ ดเมืองใหญ่ สังคมผูสูงอายุ การบริ โภคอาหาร้ม่สม ุล การขา การเคลื่อด้หวทางกาย การบริ โภคยาสูบ การบริ โภคเครื่ อง ื่ม แอลกอฮอล์ อายุ กรรมพัดธุ์ โรคไม่ ติดต่ อเรื้อรัง โรคเบาหวาด ภาวะด้ าตาลใดเลือ สู ง โรคความ ดั โลหิตสูง โรคหัวใจ ภาวะความโลหิตสูง โรคหลอ เลือ สมอง ภาวะ้ขมัดใดเลือ โรคมะเร็ง ผิ ปกติ ภาวะอวด/ด้ าหดักเกิด โรคทางเ ิดหายใจเรื้ อรัง ปั จจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรัง รับประทานอาหารไม่สมดุล (Unhealthy diet) ออกกาลังกายไม่เพียงพอ (Physical inactivity) สูบบุหรี่ (Tobacco use) ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในขนาดที่เป็ นอันตราย (Harmful use of alcohol) ภาวะอ้วนและน้ าหนักเกิน ภาวะความดันโลหิตสูง ภาวะน้ าตาลในเลือดสูง ภาวะไขมันในเลือดสูง ความเครียด อัตราตาย ต่ อประชากร 100,000 คน ด้ วยโรคไม่ ติดต่ อเรื้อรังทีส่ าคัญ (โรคความดันโลหิตสู ง โรคหัวใจ ขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง และโรคเบาหวาน) ปี พ.ศ. 2544– 2553 35 30 25 HT 20 IHD Stroke 15 DM 10 5 0 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 อัตราผู้ป่วยในต่ อประชากรแสนคน ด้ วยโรคไม่ ตดิ ต่ อเรื้อรังทีส่ าคัญได้ แก่ โรคความดัน โลหิตสู ง โรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือดสมองใหญ่ (อัมพฤกษ์ อัมพาต) และ โรคเบาหวานตามกลุ่มสาเหตุป่วย(75โรค)จากสถานบริการสาธารณสุ ขของกระทรวง สาธารณสุ ข ปี พ.ศ.2544 – 2553 ทั้งประเทศ ยกเว้ นกรุ งเทพมหานคร 1600 1400 1200 HT 1000 IHD 800 Stroke 600 DM 400 200 0 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 Number of DALY / million, in Thai people 2.6 CD 2.0 1.3 5.6 1999 6.4 NCD 2004 2009 7.1 1.3 Injury 1.4 1.3 0.0 2.0 4.0 Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group 6.0 8.0 DALY Attributable to Risk Factors by Age and Gender 2009, Thailand WSH = Water Sanitation Health Source : Burden of disease in Thailand 2009, BOD working group Deaths attributed to 19 leading factors, by country income level, 2004 13 Prediction of Behavioral Risk Factors from Lifestyle Disease for the next 5 years Smoke LowFruitVegt NoExercise Overweight HtScreen DmScreen HeavyDrink 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 2547 2548 2549 2550 2551 2552 Supawan Manosoontorn: BRFSS Report 2547 2548 2550 2553 2553 2554 2555 2556 2557 2558 สถานะสุขภาพประชากรไทย อายุ 15 ปี ข้ ึนไป NHES III (2546-2547) ความชุก 6.9% ความชุก 6.9% ทราบว่าป่ วย 43.4% เบาหวาน ควบคุมได้ 12.2% ความชุก 22.0% ทราบว่าป่ วย 28.6% ความดันโลหิตสูง ทราบว่าป่ วย 68.8% NHES IV (2551-2552) ควบคุมได้ 28.5% ความชุก 21.4% ทราบว่าป่ วย 49.7% ควบคุม ได้ 8.6% ควบคุมได้ 20.9% Recent and Current Evidence showed that.... Preventing and controlling major risk factors in an integrated manner and employing health promotion across the life course at the level of family and community is thus most cost-effective กรอบโครงสร้ างการปฏิบัติภาพรวมการป้องกันโรคไม่ ติดต่ อ (สุ ขภาพหัวใจ หลอดเลือด และทางเดินหายใจรวมทั้งการควบคุมมะเร็งและเบาหวาน) สิ่ งแวดล้อมทั้งทาง เศรษฐกิจและสั งคมที่ สร้ างสรร แบบแผน พฤติกรรมที่ สร้ างเสริมสุ ขภาพ เปลีย่ นแปลง พฤติกรรม เปลีย่ นแปลงสิ่ งแวดล้ อม และเศรษฐกิจมหภาค ความเสี่ ยง ในประชากรต่า การค้ นพบปัจจัยเสี่ ยง และการควบคุม ลดเหคุการณ์ ป่วย เฉียบพลัน / การตาย ทันทีลดลง การบริหารจัดการ ดูแลเฉียบพลัน ความสามารถในการ ทาหน้ าทีต่ ามศักยภาพ / ลดการเป็ นซ้า คุณภาพชี วติ ดี จนกระทัง่ ตาย การดูแลเรื้อรัง และฟื้ นฟูสภาพ การดูแลในช่ วง สุ ดท้ ายของชี วติ เน้ นไปที ่การป้emphasis องกันและการสร้ งเสริมสุ ขภาพ Giving to prevention,าpromotion ความยากจน, แบบแผนพฤติกรรม ปัจจัยเสี่ ยง ความพิการ ป่ วยครั้งแรก สิ่ งแวดล้อมไม่ เสมอภาค เสี่ ยงหรือเป็ นภัย หลักๆ และการป่ วยซ้า / ตายทันที และสิ่ งแวดล้อมไม่ เอือ้ อานวย กลยุทธ์ โดยรวมขององค์ การอนามัยโลก: กลยุทธ์ ทศิ ทางต่ างๆ การพัฒนาของ สุ ขภาพด้ านต่ างๆ ลดความเสี่ ยง, สร้ างเสริม วิถีชีวติ สุ ขภาพ WORLD HEALTH ORGANIZATION 280151 เข้ าถึงระบบสุ ขภาพ ภาวะแทรกซ้ อน และความเจ็บปวด ลดการตาย และการป่ วย THE SECOND MEETING OF THE GLOBAL FORUM ON NCD PREVENTION AND CONTROL ON 4-6 NOVEMBER 2002, SHANGHAI , CHINA เสดอประชุมพัฒดาชุ การวิจยั เบาหวาดความ ดั ฯ 31 ป้องกันควบคุมกลุ่มปั จจัยเสี่ยงร่วมที่มีผลต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสาคัญ ใช้ทรัพยากรชุมชนและการบริการสุขภาพไปร่วมกัน เชื่อมและสร้างความสมดุลของความพยายามเพื่อการป้องกันโรคและการ สร้างเสริมสุขภาพทั ่วไปเพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ในการตัดสินใจ สุขภาพของตนเอง การสร้างข้อตกลงกลยุทธ์ร่วมกันระหว่างหุน ้ ส่วนต่างๆ ของทั้งรัฐและ เอกชนในความพยายามเพื่อเพิ่มความร่วมมือและตอบสนองต่อความ จาเป็ นของประชากร “Integration” in NCD Prevention and Control CCDPC.. แปล 15/12 /51 แผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย พ.ศ. 2554-2563 โรคที่มีปัจจัยเสี่ยงร่วมกันและมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 5 โรค ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรค หลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง แนวคิดหลัก: ยึดแนวคิดการสร้างวิถีชีวิตไทยที่พอเพียงเพื่อ การมีสุขภาพดี ตามแนวคิดสุขภาพพอเพียงและปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และมุมมองการบูรณาการเป็ นองค์รวมใน ระบบสุขภาพบริบทแวดล้อมและการมีส่วนร่วมของสังคม ให้การศึกษาประชาชน -รับรูข้ ่าวสารสถานการณ์ความสาคัญ -สร้างความตระหนักต่อผลกระทบ -รูส้ าเหตุและแนวปฏิบตั ปิ ้ องกัน -รูจ้ กั กลุม่ เสี่ยงสูงและความจาเป็ น ในการคัดกรอง การบริการคัดกรองโรคเสี่ยง -คัดกรอง / การแปลความหมาย -ข้อแนะนาปฏิบตั ิ การประเมินความเสี่ยงของ โรคหัวใจแลหลอดเลือด -คัดกรอง / การแปลความหมาย -ข้อแนะนาปฏิบตั ิ การบริการลดเสี่ยง สนับสนุ นและติดตาม 23 C ชุมชน ครอบครัว บุคคล จัดการตนเอง เข้ าถึงบริการและทรัพยากรที่จาเป็ น การสื่อสารเตือนภัยและเรียนรูท้ ี่มปี ระสิทิิลล ระบบบริการสนับสนุน มีนโยบาย โครงสร้างและทรัพยากรที่เพียงพอและมีคณ ุ ภาพ เพิ่มพลังชุมชน ปฏิบตั กิ ารลดความเสี่ยงเพื่อป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ใส่ใจ 3 อ. บอกลา 2 ส. ต้านโรคไม่ติดต่อเรื้ อรัง ◦ 3 อ. มาจาก อาหาร ออกกาลังกาย และ อารมณ์ ◦ 2 ส. มาจาก ไม่สบู บุหรี่ และลดดื่มสุรา การปรับเปลีย ่ นพฤติกรรม: ยุทธวิธ ี ขูให ยัว่ ให้อยาก ่ ้กลัว มากศรัทธา: เป็ นแบบให้ดู เป็ นอยูให ่ ้เห็ น พาวิรย ิ ะ: อุตสาหะจนเป็ นวินย ั ฉันทะเกิด: ใฝ่รัก อยากทา จน เป็ นนิสัย เลิศสติ สมาธิเกิด: ใจจดจอ ่ มี เมื ่ อ เห็ ด ทุ ก ข์ จึ ง เห็ ด ธรรม ความสุข สมรรถนะหลักในการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังของ หัวหน้าสถานบริการสุขภาพระดับตาบลในประเทศไทย โดย รศ.ดร.ประสิทธิ์ ลีระพันธ์ รศ.ธราดล เก่งการพานิ ช ดร.มลินี สมภพเจริญ เอกสารนาเสนอต่อที่ประชุมวิชาการของสานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 15 กันยายน 2554 ผลงานการป้องกันและควบคุมโรคไม่ ตดิ ต่ อของสถานีอนามัย 2.1 การคัดกรองเบาหวานและความดัน ้ม่้ ทา (0.3) ทาครั้งเ ียว (30.8) ทาสองครั้ง (41.6) และ ทามากกว่า 2 ครั้ง (27.3) 2.2 การปรับเปลีย่ นพฤติกรรมกลุ่มเสี่ ยง ้ม่เคยทาเลย (1.4) และ เคยทา (98.6) 2.3 วิธีการปรับเปลีย่ นพฤติกรรม - การใหสุ ขศึกษาเป็ ดรายบุคคล (80.1) - การใหขอมูลผ่าดหอกระจายข่าว (39.7) - การฝึ กอบรมครึ่ งวัด (28.4) - การเขาค่ายปรับเปลี่ยดพฤติกรรม 1 คืด (17.8) 2.4 การรักษาโรคเบาหวาน - ไม่ให้บริการ (23.2) และให้บริการ (76.8) 2.5 การรักษาโรคความดันโลหิต - ไม่ให้บริการ (10.7) และให้บริการ (89.3) 2.6 ความพร้อมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุม่ เสี่ยง - ไม่พร้อมเลย (1.2) น้อย (13.1) ปานกลาง (63.2) และมาก (22.5) 2.7 การวางแผนป้องกันและควบคุมโรคไม่ตดิ ต่อ - ไม่มีแผน (6.2) ทาแผนแต่ไม่นาไปใช้ (15.7) และทาแผนนามาใช้ (78.1) 3. สมรรถนะหลักในการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังของหัวหน้ าสถานีอนามัย องค์ ประกอบ ไม่ พร้ อมเลย 0.3 สมรรถนะหลักโดยรวม 1. คุณลักษณะส่ วนบุคคล 0.4 0.3 ค่าดิยมและงาดวิชาการ 0.7 ลักษณะดิสยั 2. ความสามารถทางปัญญา 1.2 2.6 การวิเคราะห์และประเมิดปัญหา 1.2 กลยุทธ์กลวิธีจ ั การปัญหา 1.5 การบริ หารจั การปัญหา 3. ทักษะการทางาน 0.5 4.8 ชุมชด 1.3 การบริ หารจั การ 0.4 การสื่ อสาร ระดับความพร้ อม น้ อย ปานกลาง 18.0 78.7 16.6 70.8 16.7 68.4 18.7 60.2 16.9 78.5 28.9 66.3 7.5 78.0 21.6 72.5 45.3 46.2 35.5 43.8 48.8 38.9 43.6 48.0 มาก 3.0 12.2 14.5 20.4 3.4 2.2 13.3 4.4 8.0 15.9 11.0 8.0 5. ผลการวิจยั จากการศึกษาเชิงคุณภาพ 5.1 สถานีอนามัยทีม่ ีผลงานเด่ นด้ านการป้องกันและควบคุมโรคไม่ ติดต่ อ มีคุณสมบัตแิ ละองค์ ประกอบทีส่ าคัญคือ ~ บุคลากรประจาสอ. สนใจและความจริ งจังในการทางาน กับ ชุมชนและประชาชน จนได้รับการยอมรับ (ความ จริ งใจใน การช่วยเหลือประชาชน) ~ การได้รับสนับสนุนจากทีมงานภายในของสอ. คปสอ. อบต./ทต. และอสม. (เป็ นเครื อข่ายที่สาคัญ) 5. ผลการวิจยั จากการศึกษาเชิงคุณภาพ (ต่ อ) 5.1 สถานีอนามัยที่มีผลงานเด่ นด้ านการป้องกันและควบคุมโรคไม่ ติดต่ อ มีคุณสมบัติและองค์ ประกอบทีส่ าคัญคือ (ต่ อ) ~ การจัดทาเป็ นโครงการพัฒนาเสริ มจากงานปกติ(งานเชิงรุ ก) โดย มีกลยุทธ์กลวิธีที่มีลกั ษณะเฉพาะและเป็ นจุดขาย เช่ น “การบริ โภคข้าว กล้องและผักพื้นบ้าน” “บุคคลต้นแบบ” “เศรษฐกิจพอเพียง” การจับคู่คน ให้ดูแลตนเอง “แบ่งฝั นปั นดาว” หรื อ “เพื่อนช่ วยเพื่อน” “อสม.วัยใส” “สมาธิ บ าบั ด ” “การจั ด เวที แ ลกเปลี่ ย นความคิ ด ความเห็ น และ ประสบการณ์” และ “การจัดตั้งกลุ่ม” ~ การเป็ นสอ.ดีเด่น/ต้นแบบทาให้มีผศู ้ ึกษาดูงาน และติ ดตามอย่าง ต่อเนื่องเป็ นแรงจูงใจและผลักดันให้สอ. พัฒนาอย่างต่อเนื่อง และมีความ ยัง่ ยืน 5. ผลการวิจยั จากการศึกษาเชิงคุณภาพ (ต่ อ) 5.2 ข้ อจากัดและความต้ องการในการพัฒนาตนเองของบุคลากร สาธารณสุ ข (1) ความเสมอภาคในการได้รับการส่ งเสริ มและสนับสนุ น ระหว่างนักวิชาการสาธารณสุ ข และพยาบาลฯ ประจาสอ. (2) เจ้าหน้าที่ และอสม.ควรเป็ นตัวแบบที่ดีของประชาชนใน การสร้างเสริ มสุ ขภาพ (3) แนวคิ ด และทัก ษะที่ ต้อ งการพัฒ นา : การปรั บ เปลี่ ย น พฤติกรรม ทักษะการทางานกับชุมชน โอกาสการเรี ยนรู ้ และพัฒนาประสบการณ์ใหม่ ๆ การบริ หารจัดการ การ สื่ อสาร และ การประเมินผล การอภิปรายผล 1. การคัดกรองส่ วนใหญ่ ได้ ผลตามเป้าหมายที่กาหนดและใช้ การ รณรงค์ เป็ นกลวิธีหลัก โดยมีแรงจูงใจสาคัญจากงบสนับสนุน ของสปสช. “ผลงานแลกเงิน” การคัดกรองผ่ านระบบและกลไกของชุมชนและสอ. ที่ ทาเป็ น ปกติ แ ละต่ อ เนื่ อ งสม า่ เสมอ ควรเป็ นเป้ าหมายการพั ฒ นา (อสม. และกลุ่มต่ าง ๆ ในชุมชนควรเป็ นแกนนาที่สาคัญ) การอภิปรายผล (ต่ อ) 2. การปรั บเปลี่ยนพฤติกรรมยังไม่ ได้ ผลเท่ าที่ควร เพราะส่ วนใหญ่ เน้ นการให้ ความรู้ และการฝึ กทักษะที่ไม่ เพียงพอ รวมทั้งขาดการ ติดตามสนับสนุนอย่ างต่ อเนื่อง ควรพัฒนาบุคลากรสาธารณสุ ขให้ เป็ นนักสุ ขศึ กษาและสร้ าง เสริ มสุ ขภาพที่ มีความพร้ อมในการประยุกต์ แนวคิ ด กลยุทธ์ กลวิ ธี และการบริ หารจั ดการเพื่ อการเรี ยนรู้ และนาไปสู่ การ ปรั บเปลี่ ยนพฤติ กรรมสุ ขภาพของประชาชนทุกกลุ่ม (กลุ่ม ปกติ กลุ่มเสี่ ยง และกลุ่มป่ วย) การอภิปรายผล (ต่ อ) 3. ความรับผิดชอบด้ านการรักษาพยาบาลของสอ. มีมากขึน้ และยิ่ง มากขึน้ เมื่อเป็ น รพ.สต. ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่ อการทางานเชิง รุก (งานป้องกันและส่ งเสริมสุ ขภาพในชุมชน) ตามกรอบงานและความรั บผิดชอบของ รพ.สต. ต้ องเน้ นงาน เชิ งรุ กเป็ นหลัก ส่ วนงานรั กษาควรเป็ นงานรอง โดยมีนโยบาย ระบบ และกลไกในการควบคุมกากับและส่ งเสริ มพัฒนาอย่ าง จริ งจังและมากเพียงพอ สั ด ส่ วนของจ านวนบุ ค ลากร และงบประมาณสนั บ สนุ น ระหว่ างงานเชิ งรั บและเชิ งรุ กเป็ นตัวชี ว้ ัดสาคัญ การอภิปรายผล (ต่ อ) 4. กรณีศึกษาได้ สะท้ อนความสาเร็ จของโครงการเชิ งรุ ก เกิดขึ้นจาก ปั จ จั ย “คุ ณ สมบั ติ เ ฉพาะของเจ้ า หน้ า ที่ ” และ “การได้ รั บ การ ยอมรับ/สนับสนุนจากหัวหน้ า/หน่ วยงาน” นโยบายควรสนับสนุนการคิ ดและทานอกกรอบ เช่ น การให้ เวลา เงิ นทุ น และวัสดุอุปกรณ์ การจั ด ทาโครงการเฉพาะตาม แนวคิ ดของแต่ ละพื น้ ที่ และการจัดเวที แลกเปลี่ยนเรี ย นรู้ และ ยกย่ องชมเชย การถอดบทเรี ยนและเผยแพร่ แนวคิ ดและกระบวนการพัฒนา อย่ างเป็ นระบบ เพื่อเป็ นข้ อมูลประยุกต์ ใช้ และเป็ นกาลังใจให้ เจ้ าหน้ าที่ การอภิปรายผล (ต่ อ) 5. เครื่ อ งมื อ วัด สมรรถนะการป้ องกั น และควบคุ ม โรคเรื้ อ รั ง ของ หั ว หน้ า สถานี อ นามั ย โดยภาพรวมแล้ ว น่ า จะเป็ นจุ ด เริ่ ม ต้ น การ พัฒ นาเครื่ อ งมื อ ที่ เ ฉพาะเจาะจงเรื่ อ งนี้ไ ด้ เ ป็ นอย่ า งดี เพราะได้ สะท้ อนผลที่แสดงให้ เห็นระดับความพร้ อมการทางานด้ านนี้ ของ บุคลากร โดยหลักการแล้ วการพัฒนาสมรรถนะการทางานที่ เฉพาะเจาะจง เป็ นสิ่ งจ าเป็ นในสั ง คมปั จจุ บั น ที่ ปั ญหามี ค วามซั บ ซ้ อนและ เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด โดยเฉพาะโรคไม่ ติดต่ อ ดังนั้นจึ ง ควรมีการ ส่ งเสริ มและพั ฒ นาเครื่ องมื อ วั ด สมรรถนะดั ง กล่ าวนี ้ ใ ห้ มี ประสิ ทธิ ภาพมากยิ่งขึน้ และนาไปใช้ อย่ าง การอภิปรายผล (ต่ อ) 6. ทั กษะการท างานของหั วหน้ าสถานี อนามัยเป็ นสมรรถนะที่ เป็ น ปั ญหามากที่สุดเมื่อเปรี ยบเทียบกับสมรรถนะด้ านอื่น (มีผ้ ูพร้ อม น้ อยและไม่ มีเลยถึงร้ อยละ 45.8) และมีสภาพใกล้ เ คียงกันในทุ ก สมรรถนะย่ อย (ด้ านชุ มชน การบริหารจัดการ และการสื่ อสาร) ประเด็น การไม่ พ ร้ อมของสมรรถนะแต่ ล ะด้ า น น่ า จะเป็ น ประเด็นเน้ นหนักในการแก้ ไขและพัฒนาต่ อไป โดยเฉพาะเรื่ อ งการ บริ หารจัดการ และการสื่ อสาร ส่ วนประเด็นด้ านชุมชนนั้น แม้ ว่ามีผ้ ู พร้ อมน้ อยจานวนมาก แต่ มีผ้ ูพร้ อมระดับมากมีมากพอสมควรเมื่อ เปรี ยบเทียบกับด้ านอื่น ๆ (ระดับมากมีร้อยละ 15.9) ร้ อยละ 80 ของโรคเรือ้ รังกลุ่มเบาหวานและโรคหัวใจ และหลอดเลือดป้องกันได้ ร้ อยละ 40 ของกลุ่มมะเร็งป้องกันได้ How best to respond? • “We need a whole of government and a whole of society response” Margaret Chan, director general, WHO หมอชัน ้ สูง รักษาโรคทีย ่ งั ไมเกิ ่ ด (ป้องกัน ควบคุม เชิงรุก) หมอชัน ้ กลาง รักษาโรคทีก ่ าลังจะเกิด (เชิงรับ) หมอชัน ้ ตา่ รักษาโรคทีเ่ กิดแลว ้ (เชิง รับ) หวาง ตี้ เน่ย จิง คัมภีรแพทย จี ่ แรก ๒๖๐๐ ปี กอนศ ์ ์ นเริม ่ ริสตกาล ์