THE SKELETAL SYSTEM BENJAWAN NUNTHACHAI ขอบเขตเนื้อหา ประเภทของกระดูก และการทาหน้าที่ (Types of bone&Function) ส่วนประกอบภายใน กระดูก (Composition of bone) โครงสร้างของกระดูก (Structureof bones) ชื่อกระดูกในส่วนต่างๆ ของร่างกาย (Descriptive Terms) ระบบโครงกระดูก (Skeletal System) ข้อต่อและเอ็น (Joints & Ligaments) Skeletal Function Shape & Form of our bodies Supporting Protecting Body movement Producing blood Storing minerals 206 Bones Important Function (TYPES OF BONE & FUNCTION) Long bones: มีความ ยาวมากกว่าความกว้าง ได้แก่ กระดูกแขน - ขา (arms & legs) Short bones :มีความ ยาวและความกว้าง พอๆกัน ได้แก่ กระดูก ข้อมือ (wrists or carpal bone) กระดูกข้อเท้า (ankles or tarsal bone) Flat bone:รูปร่างแบน เนื้อ กระดูกแน่น(compact bone) แผ่นกระดูกบาง โค้ง - ซี่โครง(ribs) -สะบัก(scapula) -กะโหลกศีรษะ(skull ) -กระดูกหน้าอก(sternum) Irregular bone:รูปร่างแปลก -กระดูกสันหลัง(vertebrae) -กระดูกสะโพก(hipbones) -กระดูกขากรรไกร (maxillary bone) PART OF A LONG BONE Epiphysis Spongy bone (cancellous bone) Diaphysis Periosteum Articular cartilage Compact bone medullar cavity red marrow yellow marrow Spongy bone (cancellous bone) Compact bone : medullar cavity red marrow yellow marrow โครงสร้างของกระดูก(STRUCTURE OF BONES) Long bones of the body Diaphysis : medullary cavity(contains yellow bone marrow) Epiphysis :spongy bone tissue (contains red bone marrow) Metaphysis: epiphyseal (growth) plate or hyaline cartilage Outer surface of the bone Periosteum :nerve lymphatic vessels capillaries nutrient artery Long bones of the body : Outer surface of the bone ส่วนประกอบภายในกระดูก (COMPOSITION OF BONE) Inorganic matter:67% Calcium : ฟอสเฟต คาร์บอเนต ฟลูโอไรด์ แมกนีเซียม ฟอสเฟต เกลือโซเดียม ทาให้กระดูกแข็ง ทึบ แน่นติดเป็นเนือ ้ เดียวกัน และประกอบกันขึน ้ เป็น รูปร่าง Organic matter: 33%bone cell เส้นเลือด สารที่มล ี ก ั ษณะคล้ายวุน ้ (gelatinoussubstance) ทาให้กระดูกเหนียว ยืดหยุ่น และป้องกันการ หักของกระดูก BONE DEVELOPMENT & GROWTH การเพิ่มความยาวของกระดูกในส่วนที่ กระดูก Diaphysis มาบรรจบกับEpiphysis โดยมีช่วงเวลาของอายุเป็นตัวกาหนดใน การเจริญเติบโตของกระดูก การเจริญเติบโตโดยการเพิม ่ ความหนาและ ความกว้างของกระดูกทีเ่ กิดขึน ้ ภายใต้ Periosteum Osteoclasts: cells that help eat away old bone DEVISION OF THE SKELETON The Axial Skeleton (กระดูกแกน80 ชิ้น) The Skull The Sternum The Ribs Support & Protect the organs of head neck trunk The Vertebral column DIVISION OF THE SKELETON Appendicular Skeleton (กระดูก รยางค์มี 126 ชิ้น) เป็นส่วนประกอบ ของแขน-ขา The Upper Extremities The Lower Extremities The Shoulder Girdle The pelvic Girdle (sacrum & coccyx ) Anatomy of Skull Irregular bone Tibia &Fibula การเคลือ ่ นไหวของกระดูกข้อต่อ 1.ข้อต่อเคลือ ่ นไหว ไม่ได้เลย เป็นข้อต่อที่ มีเยื่อมายึดเกาะ ระหว่างกระดูก และ เคลื่อนไหวไม่ได้ เช่น รอยต่อกระดูกกะโหลก ศีรษะ 2. ข้อต่อเคลือ ่ นไหว ได้บ้างเล็กน้อย เป็น ข้อต่อทีเ่ คลือ ่ นไหว ได้บ้างแต่ไม่มาก นัก เช่น ข้อต่อที่ กระดูกสันหลัง 3. ข้ อต่ อที่เคลื่อนไหวได้ มาก เป็ นข้อต่อที่มีช่องว่างหรือมีโพรง (ATICULAR CAVITY) ระหว่าง กระดูกที่มาต่อกัน มีถุงหุม้ ปลาย แคปซูล (CAPSULE) ล้อมรอบด้วยผนังที่เรียกว่า เยือ่ บุขอ้ ต่อ (SYNOVIAL MEMBRANE) ซึง่ จะผลิตนา้ หล่อ ลืน่ หรือนา้ มันไขข้อ (SYNOVIAL FLUID) ลักษณะการเคลือ่ นไหวของข้อต่อต่างๆ 1. การงอ (FLEXION) เป็ นการเคลือ่ นไหวแบบงอพับ เช่น การงอข้อศอก งอเข่า 2. การเหยียด (EXTENSION) เป็ นการเคลือ่ นไหวตรง ข้ามกับ FLEXION คือการเหยียดข้อต่อ 3. การกาง (ABDUCTION) เป็ นการเคลือ่ นไหวแบบกาง แขน กางขา ออกจากแนวกลางของลาตัว 4. การหุบ (ADDUCTION) เป็ นการเคลือ่ นไหวแบบหุบ แขน หุบขา เข้าหาแนวกลางของลาตัว 5. การแกว่ง (ROTATION) เป็ นการเคลือ่ นไหว แบบแกว่งคล้ายกับลูกตุม้ นาฬิกา เช่น การแกว่งแขน 6. การหมุน (CIRCUMDUCTION) เป็ นการ เคลือ่ นไหวแบบหมุนโดยรอบแบบกรวยฝาชี เช่น HINGE JOINT Gliding Joint SADDLE JOINT PIVOT JOINT CONDYLOID JOINT Q&A