MS.Pantharee Sawasdimongkol 1 เนือ้ หา ประวัตขิ อง PHP PHP คืออะไร ทำไม PHP จึงเป็ นทีน่ ิยม โครงสร้ำงของ PHP Language Reference ข้อแตกต่ำงของ PHP กับ ASP PHP Programming introductio n2 ประวัติ PHP PHP ย่อมำจำก Professional Home Page เริม่ สร้ำงขึน้ ในกลำงปี 1994 ผูพ้ ฒ ั นำคือ นำย Rasmus Lerdorf ปั จจุบนั PHP มีกำรพัฒนำมำเป็ นรุน่ ที่ 5 Version แรกเป็ นทีร่ จู้ กั ในชือ่ ว่ำ Personal Homepage Tools ในปี 1994 ถึงกลำงปี 1995 Version ทีส่ องชือ่ ว่ำ PHP/FI ในกลำงปี 1995 Version 3 เป็ นทีร่ จู้ กั กันในชือ่ ว่ำ PHP3 เริม่ ใช้กลำงปี 1997 Version 4 ถ ้าเป็ น commercial ใช้ชอ่ื ว่ำ Zend (Zend ย่อมำจำก Ze(ev) + (A)nd(I Gutmans) Version 5 เป็น Stablee Version ล่ำสุด PHP Programming introductio n3 PHP คืออะไร เป็ นภำษำ Script สำหรับแสดงเว็บเพจอย่ำงหนึ่ง จัดอยูใ่ นกลุ่ม Server Side Script เช่นเดียวกับ ASP กำรทำงำนจะแทรกอยูใ่ นเอกสำร HTML สามารถ Compile ได้ทงั ้ บนระบบปฏิบตั กิ ำร UNIX, Windows NT/2000/XP, Windows 9x ความสามารถในกำรทำงำนสูง โดยเฉพาะกับการติดต่อกับ Database เช่น MySQL, msSQL, Sybase และ PostgreSQL เป็ นต้น PHP Programming introductio n4 สิ่งที่ PHP สามารถทาได้ CGI Database-enable web page Database Adabas D InterBase DBase mSQL Empress MySQL FilePro Oracle Informix PostgreSQL PHP Programming Solid Sybase Velocis Unix dbm introductio n5 ทาไม PHP จึงเป็ นที่นิยม Open source No cost implementation – PHP เป็ นของฟรี Server side Crossable Platform HTML embedded Simple language Efficiency XML parsing Server side Database module File I/O Text processing Image processing PHP Programming introductio n6 การทางานของ PHP ทำงำนบน Server ทำงำนร่วมกับเอกสำร HTML สำมำรถแทรกคาสัง่ PHP ได้ตำมทีต่ อ้ งกำรลงในเอกสำร HTML ทำงำนในส่วนทีเ่ ป็ นคำสังของ ่ PHP ก่อน เมือ่ มีกำรเรียกใช้เอกสำรนัน้ ๆ แสดงผลออกทำง Web Browsers PHP Programming introductio n7 โครงสร้ างภาษา PHP แบบที่ 1 XML style <?php คาสัง่ ภำษำ PHP ?> ตัวอย่าง <?php echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?> PHP Programming introductio n8 โครงสร้ างภาษา PHP (ต่อ) แบบที่ 2 SGML style <? คำสังภำษำ ่ PHP ?> ตัวอย่าง <? echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; ?> PHP Programming introductio n9 โครงสร้ างภาษา PHP (ต่อ) แบบที่ 3 Java Language style <script language=“php”> คำสังภำษำ ่ PHP </script> ตัวอย่ำง <script language=“php”> echo “Hello World”; </script> PHP Programming introductio n10 โครงสร้ างภาษา PHP (ต่อ) แบบที่ 4 ASP Style <% คำสังภำษำ ่ PHP %> ตัวอย่ำง <% echo “Hello World ! <br>”; echo “I am PHP”; %> PHP Programming introductio n11 โครงสร้ างของภาษา PHP (ต่อ) แบบทีเ่ ป็ นทีน่ ิยม คือ แบบที่ 1 ผลทีไ่ ด้เมือ่ ผ่ำนกำรทำงำนแล้วจะได้ผลดังนี้ Hello World ! I am PHP ข้อสังเกต - รูปแบบคล้ำยกับภำษำ C และ Perl - ใช้เครือ่ งหมำย ( ; ) คันระหว่ ่ ำงคำสังแต่ ่ ละคำสัง่ File ทีไ่ ด้ตอ้ ง save เป็ นนำมสกุล php PHP Programming introductio n12 Language Reference Comments - เหมือนกับกำร Comment ของภำษำ C, C++ และ Unix ตัวอย่ำง <?php echo “Hello !”; // กำร comment แบบ 1 บรรทัด /* แบบหลำยบรรทัดตัง้ แต่ 2 บรรทัดขึน้ ไป */ echo “World”; # กำร comment แบบ shell-style ?> PHP Programming introductio n13 หลักการเขียนโปรแกรม php พืน ้ ฐานเหมือนกับภาษา C ใช้พืน ้ ที่ว่างได้ โดยการเว้นบรรทัดในขณะที่ยงั เขียนคาสังต่ ่ างๆ ไม่จบ ประโยคสามารถทาได้ Case-Sensitive บางกรณี คือ ตัวเล็ก-ตัวใหญ่มีความแตกต่างกันในการ อ้างอิงตัวแปร แต่ถ้าเป็ นการใช้คาสัง่ เช่น if ก็จะเหมือนกับ IF หรือ function อย่างเช่น empty() อาจจะเขียนเป็ น Empty() ก็ได้ ปิดคาสังทุ ่ กประโยคด้วย ; PHP Programming introductio n14 คาสัง่ echo เป็ นคำสังส ่ ำหรับแสดงผลลัพธ์ไปทีโ่ ปรแกรม browser รูปแบบ echo ข้อควำม1 หรือตัวแปร1, ข้อควำม2 หรือตัวแปร2, ข้อควำม3 หรือตัวแปร3, … ข้อควำม เขียนภำยใต้เครือ่ งหมำย double quote (“ “) หรือ single quote (‘ ‘) ตัวแปรของภำษำ PHP จะขึน้ ต้นด้วยเครือ่ งหมำย $ เสมอ คล้ำยกับภำษำ Perl PHP Programming introductio n15 ตัวอย่างที่ 1 intro.php <HTML> <HEAD> <TITLE>Example –1</TITLE> </HEAD> <BODY> <?php phpinfo() ; ?> <BODY> </HTML> *** ทำกำร สร้ำง Folder ชือ่ PHP_Demo ไว้ใน c:\Appserv\www\ และเก็บ File นี้ไว้ใน Folder ดังกล่ำว PHP Programming introductio n16 ้ การเรียกใชงาน เปิ ดโปรแกรม browser พิมพ์ url http://localhost/php_demo/intro.php PHP Programming introductio n17 ตัวอย่างที่ 2 (date.php) <HTML> <HEAD> <TITLE> Example –2</TITLE> </HEAD> <BODY> Today’s Date: <? print(Date("l F d, Y")); ?> </BODY> </HTML> Today's Date: Monday November 3, 2009 PHP Programming introductio n18 ตัวอย่างที่ 3 (Sample1.php) <? echo"Hello Word <br>"; echo"Hello PHP Programming"; ?> บันทึกไฟล์เป็ น Sample1.php PHP Programming introductio n19 การเชื่อมต่อข้ อความหรื อตัวแปร ใช้เครือ่ งหมำย . (จุด) หรือ, (ลูกน้ ำ) เช่น echo “ปณั ฑรีย์ ”. “สวัสดิมงคล”; หรือ echo “ปณั ฑรีย์ ”, “สวัสดิมงคล”; ผลลัพธ์ ปณั ฑรีย์ สวัสดิมงคล PHP Programming introductio n20 การขึ ้นบรรทัดใหม่ ใช้ Tag เหมือนกับ HTML Tag คือ “<br>” (Tag br ) เช่น echo “ปณั ฑรีย< ์ br>บุ๋ม”; หรือ echo “ปณั ฑรีย”์ ,“<br>”.“บุ๋ม”; ผลลัพธ์ ปณั ฑรีย์ บุ๋ม PHP Programming introductio n21 <font>……..</font> (Tag font) เช่น สี ขนำด ั ฑรีย< echo “<font color=‘red’ size=20 face=‘JasmineUPC’>ปณ ์ /font>”; แบบ ผลลัพธ์ ปั ณฑรีย์ ตัวหนา <b>………….</b> ตัวเอียง <i>…………..</i> ตัวขีดเส้นใต้ <u>………….</u> เช่น echo “<b><i><u>ปณั ฑรีย< ์ /u></i></b>”; ผลลัพธ์ ปัณฑรีย์ คาสั่ง Print print("ข้อควำมทีต่ อ้ งกำรแสดง"); คำสัง่ print จะทำงำนเหมือนกับคำสัง่ echo แต่คำสัง่ print นัน้ สำมำรถแสดง ค่ำได้ครัง้ หนึ่งค่ำเท่ำนัน้ ในขณะทีค่ ำสัง่ echo สำมำรถแสดงค่ำได้หลำย ๆ ค่ำ <? print"Hello Word"; print"<br>"; print"Hello PHP Programming"; ?> บันทึกไฟล์เป็ น Sample2.php PHP Programming introductio n24 คาสั่ง Printf Printf(String format,…); คำสัง่ Printf จะทำงำนเหมือนกับคำสัง่ echo และ print เพือ่ ส่งข้อมูลไปแสดง ทีB ่ rownser แต่คำสัง่ Printf นัน้ สำมำรถทีจ่ ะกำหนดรูปแบบกำรแสดงข้อมูลได้ ด้วย เหมือนกับภำษำ C PHP Programming introductio n25 ไฟล์ Sample3.php <? $name=‘Pantharee Sawasdimongkol’; $old=21; $salary=39000.45; $key=165; printf("ชือ่ %s ",$name); printf("<br>อำยุ %d ",$old); printf("<br>เงินเดือน %.2f ",$salary); printf("<br>Character ของ key คือ %c ",$key); ?> PHP Programming introductio n26 สัญลักษณ์ ในฟั งก์ ช่ ัน prinf(); %d เลขฐานสิบ %b เลขฐานสอง %c รหัส ASCII %f ทศนิยม %o เลขฐานแปด %s ตัวอักษร String %x , %X เลขฐานสิบหก PHP Programming introductio n27 ผลลัพท์ที่ได้จากตัวอย่าง ชือ่ อำยุ 21 เงินเดือน 39000.45 Character 165 key คือ ฅ PHP Programming introductio n28 <?php $name = “boom.com" ; $webmaster = “ปณั ฑรีย์ สวัสดิมงคล" ; echo "ยินดีตอ้ นรับสูเ่ ว็บ $name เว็บมำสเตอร์มนี ำมว่ำ $webmaster"; ?> ผลลัพท์จากตัวอย่าง ยินดีตอ้ นรับสูเ่ ว็บ boom.com เว็บมำสเตอร์เขำมีนำมว่ำ ปณั ฑรีย์ สวัสดิมงคล PHP Programming introductio n29 ให้นกั ศึกษำใช้คำสัง่ php เพือ่ แสดงข้อควำมในรูปแบบของ AngsanaUPC ออกมำดังต่อไปนี้ ชือ่ ปัณฑรีย์ นำมสกุล สวัสดิมงคล (สีดำ ตัวหนำ ขนำด = 25) รหัสนักศึกษำ 45410261 (สีดำ ตัวหนำ-เอียง ขนำด = 25) สำขำวิชำ เทคโนโลยีสารสนเทศ (สีดำ ตัวหนำ ขนำด = 25) ภำควิชำ เทคโนโลยีสารสนเทศ (สีดำ ตัวหนำ ขนำด = 25) มหำวิทยำลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี (สีดำ ตัวหนำ ขนำด = 25) เบอร์โทร 085-0482434 (รหัสสี “#740a9b” ตัวหนำ-เอียง ขนำด = 25) Email [email protected] (รหัสสี “#13707b” ตัวเอียง ขนำด = 25) หมายเหตุ (กาหนดรูปแบบและสีสนั ตามคาสัง่ Sava file : ชื่อ_ID.php เช่น pantharee_45410261.php)